Category Archives: COVID-19

ข้อที่ควรรู้เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนป้องกัน โควิด-19 และโรคลมชัก (COVID-19 vaccine and Epilepsy)

ดร.นพ โยธิน ชินวลัญช์ (Dr. Yotin. Chinvarun. MD. Ph.D. FAES)

https://www.blockdit.com/posts/608e513108a52b0c546cf24d

  1. วัดซีนป้องกัน COVID-19 ปลอดภัยสำหรับโรคลมชักหรือไม่ ?

(Are the COVID-19 vaccines safe for people with epilepsy?)

คำตอบ

วัคซีนป้องกัน โควิด-19 ทุกชนิดปลอดภัยสำหรับคนที่เป็นโรคลมชัก (all COVID-19 vaccines are safe for people with neurological conditions such as epilepsy)

2. วัดซีนป้องกันโควิด-19 มีผลปฏิกิริยาตีกับยากันชักหรือไม่ (Does COVID-19 vaccines interact with epilepsy medicines ?)

คำตอบ

วัคซีนป้องกัน โควิด-19 ทุกชนิด ไม่มีผลปฏิกิริยากับยากันชักที่ทานอยู่ (COVID-19 vaccines are not expected to interact with epilepsy medicines)

3. ผู้ป่วยโรคลมชักถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้วัคซีนหรือไม่ ? (Do people with epilepsy have priority to get the COVID-19 vaccine?)

คำตอบ

ผู้ป่วยโรคลมชักในกลุ่มอายุ 16-64 ปี ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะต้องได้วัคซีนป้องกันโควิด-19 แต่เนิ่นฯ  (People aged 16-64 with epilepsy should be included in one of the priority groups for COVID-19 vaccines)

4. วัดซีนป้องกัน COVID-19 อาจจะมีผลข้างเคียง เล็กน้อยถึงปานกลาง เช่น ทำให้เกิดมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เป็นต้น ซึ่งอาการเหล่านี้จะเป็นแค่ระยะสั้นฯ แล้วจะหายไปเอง แต่อย่างไรก็ตามอาการไข้และอาการที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สบายตัวจากผลจากวัคซีนในผู้ป่วยโรคลมชักอาจจะกระตุ้นทำให้เกิดมีการชักขึ้นมาได้ และเราจะป้องกันได้อย่างไร? (COVID vaccine can cause mild or moderate side-effects including fever. Not everyone will get side-effects, but if you do, most will go away after a few days. For some people with epilepsy, fever can make them more likely to have a seizure, So how to prevent the seizure ?)

คำตอบ

ดังนั้นในผู้ป่วยที่มีผลข้างเคียงเหล่านี้เกิดขึ้นอาจจะต้องรีบทานยาป้องกันหรือรักษาอาการทันที  ยกตัวอย่าง เช่น ทานยายาพาราเซตามอล เวลาที่มีไข้หรือปวดกล้ามเนื้อ หรือทานยาป้องกันอาการชัก เช่น การใช้ยา  Frisium ซึ่งในกรณีนี้ควรจะต้องมีการปรึกษาแพทย์ก่อน  (Should be taking a fever-reducing medicine such as paracetamol for 48 hours after you have the vaccine can reduces the risk. If you need to use the rescue therapy such as Frisium, should consult your physicians first)

วิธีการใส่ double mask ที่ถูกต้อง

วิธีการใส่ double mask ที่ถูกต้อง

พลตรี ดร.นพ.โยธิน ชินวลัญช์

การใส่หน้ากากสองชั้นจะช่วยป้องกันการติดเชื้อโคโรนาไวรัสได้ดีขึ้นมีข้อที่ต้องควรรู้ว่าอันไหนควรทำหรือไม่ควรทำ

ในขณะที่มีการแพร่เชื้อของไวรัสโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ซึ่งมีอัตราการแพร่เชื้อได้ง่ายและเร็วจึงได้มีการคำแนะนำให้ใส่หน้ากากสองชั้นในการป้องกันการติดเชื้อ

ทำไมถึงต้องใช้หน้ากากสองชั้นในการป้องกันไวรัสโคโรนาไวรัส

เนื่องจากเชื่อไวรัสโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ มีโอกาสกระจายและแพร่เชื้อได้ง่ายและเร็วมาก จะมีการติดจากคนหนึ่ง ไปอีกคนหนึ่งจากไอละอองของไวรัส วิธีการป้องกันก็คือการใส่หน้ากากจะช่วยป้องกันการกระจายของไวรัสได้ จากการศึกษาพบว่าการใส่หน้ากากสองชั้นจะช่วยเพิ่มการฟิตได้พอดีของหน้ากากเพื่อจะลดช่องว่าง โดยเฉพาะตรงขอบของหน้ากากที่สวมใส่ซึ่งจะช่วยทำให้การป้องกันการกระจายของฝุ่นละอองไวรัสได้ มีประสิทธิภาพดีขึ้น

สามารถสวมหน้ากากแบบ surgical mask สองชั้นได้หรือไม่

คำตอบคือไม่แนะนำให้มีการสวมหน้ากาก surgical mask สองชั้น หน้ากากแบบ surgical mask ซึ่งมีสีฟ้าจะ มีรูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมูทำจากวัตถุที่คล้ายกระดาษ จากวัสดุ polypropylene โดยที่หน้ากากชนิดนี้จะมีการกรองไอละอองจากไวรัสได้ ดี พอๆกับหน้ากาก N95 แต่มักจะมีปัญหาที่จะไม่ฟิตพอดีกับใบหน้าทำให้มีช่องว่างตรงด้านข้างทั้งสองข้างของหน้ากากซึ่งทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันการกระจายของโคโรนาไวรัสด้อยลง ถึงแม้เราจะใส่หน้ากากชนิดนี้สองชั้นก็ไม่สามารถที่จะปิดช่องว่างด้านข้างทั้งสองด้านได้

ดังนั้นจะไม่แนะนำให้สวมหน้ากาก surgical mask ทับกันสองชั้นซึ่งไม่ได้ช่วยประโยชน์ในการป้องกันไอละอองจากไวรัสได้มากขึ้นเนื่องจากก็ยังมีช่องว่างด้านข้างทั้งสองข้าง ก็ยังมีอยู่

ส่วนหน้ากากผ้าจะมีข้อดีก็คือจะช่วยทำให้หน้ากากฟิตกับใบหน้าได้ดีขึ้น ดังนั้นคำแนะนำให้ใช้หน้ากากผ้าทับบนหน้ากากsurgical mask ซึ่งเป็นการส่วนหน้ากากแบบสองชั้นได้ถูกต้อง

วิธีที่ไม่ถูกต้องโดยการสวมหน้ากาก surgical mask ทับกันสองชั้น

จะใช้หน้ากากสองชั้นโดยการใช้ หน้ากากชนิด N95 หรือ KN95 ได้หรือไม่

หน้ากากชนิด N95 เป็นมาตรฐานหน้ากากทางการแพทย์. ส่วนหน้ากาก KN95 เป็นหน้ากากที่ทำในประเทศจีนและมีคุณสมบัติที่คล้ายกัน เมื่อใส่หน้ากากทั้งสองชนิดนี้อย่างถูกต้องจะป้องกันไอละออง จากโคโรนาไวรัสได้ถึง 95% ดังนั้นจึงไม่มีความจำเป็นต้องไปใส่หน้ากากสองชั้น ในกรณีที่ใช้หน้ากากชนิด N95 หรือ KN95 แต่อย่างไรก็ตามหน้ากากทั้งสองชนิดนี้ก็จะมีความยากในการจัดหาเนื่องจากมีความขาดแคนของหน้ากากทั้งสองชนิดนี้ แต่อย่างไรก็ตามจะต้องมั่นใจว่าเราได้ใช้หน้ากากทั้งสองชนิดที่ได้มาตรฐานเนื่องจากปัจจุบันมีการปลอมแปลงของหน้ากากชนิดนี้ มาขายในท้องตลาด ดังนั้นควรจะต้องมีการตรวจสอบว่าหน้ากากที่เราได้มา มีมาตรฐานที่รับรองซึ่งเราสามารถที่จะเช็คได้จากเว็บไซต์ ที่รับรองมาตรฐานของหน้ากาก N95 หรือ KN95

ไม่ควรใช้หน้ากากชนิด N95 ร่วมกับหน้ากากชนิดอื่น

โรคไข้สมองอักเสบที่อาจพบได้ใน ผ. ป. COVID-19

โรคไข้สมองอักเสบที่อาจพบได้ใน ผ. ป. COVID-19

ดร.น.พ.โยธิน. ชินวลัญช์

เป็นภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทจาก ไวรัส COVID-19 ที่ยังไม่ทราบสาเหตุต่อการเกิดที่ชัดเจน

COVID-19- สามมารถก่อให้เกิดสมองอักเสบอักเสบแบบเฉียบพลัน มีรายงาน ผ. ป. รายแรกที่ตรวจพบว่ามีภาวะสมองอักเสบจาก ไวรัส COVID-19

ถือว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ไม่บ่อยจากการติดเชื้อจากไวรัส เช่น จากไข้หวัดใหญ่และการติดเชื้อไวรัสอื่น ๆ ภาวะสมองอักเสษแบบเฉียบพลันชนิด Acute necrotizing encephalopathy (ANE) มีความสัมพันธ์กับการมีการกระตุ้นสารทางระบบน้ำเหลืองไซโตไคน์ (cytokine) ออกมาจำนวนมากในสมอง (cytokine storms) ทำให้เกิดอันตรายต่อเซลล์สมอง ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ coronavirus อย่างรุนแรง อาจจะก่อให้เกิดกลุ่มอาการ cytokine storms ได้

การวินิจฉัยจากการถ่ายภาพสมองในภาวะภาวะสมองอักเสษแบบเฉียบพลันชนิด Acute necrotizing encephalopathy (ANE) จะแสดงให้เห็นรอยโรคบริเวณสมองส่วน thalamic และจะมีรอยโรค หลายตำแหน่งในบริเวณของสมองทั้งสองข้างทั้งในส่วนผิวของสมองและสมองส่วนลึก

ในผู้ป่วยรายนี้เป็นพนักงานสายการบินหญิงในวัยห้าสิบปลาย ๆ จากมีอาการไข้ และไอหลังจากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงของระดับการรู้ตัวโดยมีอาการซึมลงและไม่รู้ตัวเป็นเวลา 3 วัน จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการเริ่มแรกเพื่อตรวจหา ไข้หวัดใหญ่ผลเป็นลบ แต่ตรวจพบว่าผู้ป่วยมีผล COVID-19 เป็นบวกโดยการตรวจหาโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง coronavirus 2 (SARS-CoV-2) ไวรัสนิวคลีอิกกรดนิวคลีอิกจากตัวอย่าง ที่เก็บมาจากโพรงจมูก จึงได้มีการวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อ COVID-19

ได้มีการเจาะตรวจน้ำไขสันหลัง จากการวิเคราะห์น้ำไขสันหลัง (CSF) ไม่พบว่ามีการติดเชื้ออื่นๆ เช่น การติดเชื้อจากแบคทีเรีย หรือไวรัสอื่นๆ จากการส่งตรวจน้ำไขสันหลังและผลจากการเพาะเชื้อในน้ำไขสันหลัง แต่ อย่างไรก็ตาม ไม่สามารถที่จะส่งตรวจหา SARS-CoV-2 จากน้ำไขสันหลังได้ 

จากการตรวจภาพเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง CT brain แบบไม่ฉีดสี พบว่ามีรอยโรคในสมองในบริเวณสมองส่วนลึก thalami ทั้งสองข้าง และจากการตรวจเพิ่มเติมด้วยเครื่องเอ็กซเรย์ คลื่นแม่เหล็กสมอง MRI แสดงให้เห็นว่า บริเวณสมองส่วนลึก Thalami ทั้งสองข้างนี้แสดงให้เห็นว่ามีเลือดออกในสมอง ตัวนี้ นอกจากนี้ก็มีรอยโรคที่มีเลือดออกในสมองอื่นฯทั้งสองข้างที่ medial temporal lobs, Subinsularม ตำแหน่งอื่น ๆ ที่พบได้เช่น ก้านสมอง สมองส่วนซีลีเบลลัม

ผู้ป่วยรายนี้ได้รับการรักษาโดยการให้ยากดน้ำเหลืองซึ่งเป็นยาอิมมูโนโกลบูลินทางหลอดเลือดดำ ในผู้ป่วยรายนี้ไม่สามารถที่จะให้ยาพวกกลุ่มสเตียรอยด์ขนาดสูงได้ซึ่งปกติจะนิยมใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสอื่น เนื่องจากกลุ่มยาสเตียรอยด์ขนาดสูงจะมีผลอันตรายต่อการติดเชื้อในปอดได้

จากการศึกษาในหนูทดลอง ที่ได้รับเชื้อ coronaviruses แสดงให้เห็นว่ามีการแพร่กระจายของเชื้อ coronaviruses ไปยังเซลล์ประสาทการดมกลิ่นไปยังสมองโดยตรงหรืออาจจะมาจากปอดไปยังก้านสมองส่วนล่าง “ภาวะการสูญเสียการรับกลิ่นAnosmia เป็นอาการที่พบได้บ่อยใน COVID-19 ซึ่งบ่งบอกถึงการบุกรุกเชื้อ coronaviruses ไปยังเส้นประสาทจมูกโดยตรง อย่างไรก็ตามจะต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อทดสอบว่า เชื้อ coronaviruses สามารถที่จะลุกลามเข้าเส้นประสาทโดยตรงได้จริงหรือไม่

Reference

  1. Neo Poyiadji et al., Reviews and Commentary Images in Radiology
  • Judy George, Senior Staff Writer, MedPage Today April 1, 2020

Treating COVID-19: Tips and Practical point for Physicians

By: Dr. YOTIN. CHINVARUN. M.D. Ph.D.

Treating COVID-19: Tips and Practical point for Physicians 

From Experienced of Suraj Saggar, DO, chief of infectious diseases at Holy Name Medical Center in Teaneck, New Jersey

  • Testing Unreliable: slow turnaround for tests, paired with low sensitivity as documented in Chinese data, makes them less useful.

“There were a lot of false negatives [in China], especially early on in asymptomatic patients, The Chinese realized early on that the sensitivity wasn’t good, he said, so they would add on a CT scan to diagnose the disease. But that’s not practical because the machines have to be shut down for cleaning after each case.

“Be better to rely on the symptom “triad” — fever, cough, and shortness of breath — to guide diagnosis. They also use chest X-rays and other lab markers — leukopenia, lymphopenia, monocytosis, transaminitis, elevated C-reactive protein, normal procalcitonin — to determine whether a patient has COVID-19. Elevated d-dimer may be particularly predictive of who might have respiratory failure, 

  • COVID-19 symptoms can be very varied, Gastrointestinal symptoms, for instance, can precede pulmonary symptoms, therefore patient can be initially present alike food-related illness
  • About 80% of patients are male and unexpected young age of patients with more severe disease in US
  • Other trends, observing that central or morbid obesity seemed to indicate worse disease course, including the need for mechanical ventilation

“Obesity could be an issue because if they’re more likely to have sleep apnea, they may aspirate the virus and it makes it into the lungs,” 

  • Disease course is still unpredictable, in some cases, patients seem to start improving, but then take a turn for the worse
  • Patients go from 2-, 3-, 4-liter nasal cannula to 50% venturi mask to high-flow oxygenation to 100% non-rebreather mask to BiPAP, then may have to intubate “That usually happens within 24 hours. And it’s a prolonged course of mechanical ventilation, more than 5 days.”
  • Other Treatments
  1. Many of the severe cases have been treated with the antiviral lopinavir/ritonavir (Kaletra), but not seeing great results with Kaletra New England Journal of Medicine report published Wednesday showed it was ineffective in a randomized trial.
  2. Chloroquine and zinc plus vitamin C,” can be helpful for its anti-inflammatory properties
  3.  investigational antiviral remdesivir under compassionate use protocols. While getting the drug has been relatively quick, there’s a narrow window for using it — patients need to be “sick but not too sick, That means they have to be intubated or on extra corporeal membrane oxygenation (ECMO), but they can’t have multi-organ dysfunction.
  4. There’s been some talk about using the flu treatment oseltamivir (Tamiflu), and for those who develop acute respiratory distress syndrome due to cytokine storm, the anti-IL-6 drug tocilizumab (Actemra) may be considered.
  5. Prone ventilation and using fluticasone (Flovent) or a phosphodiesterase-4 inhibitor to dilate the lungs for better aeration are also under consideration
  6. To be cautious about using NSAIDs because there’s been some suggestion that these may prompt overexpression of ACE2 receptors, which the virus uses to enter the cell. 

Reference

Medpage Today, by Kristina Fiore, Director of Enterprise & Investigative Reporting, MedPage March 19, 2020

การสูญเสียกลิ่นและรสอย่างฉับพลันอาจบ่งบอกถึง “การมีเชื้อของโคโรนาไวรัสที่ซ่อนเร้นอยู่”

ดร.น.พ.โยธิน. ชินวลัญช์

การสูญเสียกลิ่นและรสอย่างฉับพลันอาจบ่งบอกถึง การมีเชื้อของโคโรนาไวรัสที่ซ่อนเร้นอยู่

ใครก็ตามที่มีอาการสูญเสียกลิ่นฉับพลันอาจเป็นการบอกว่าเป็น “พาหะซ่อนเร้น” ของ โคโรนาไวรัส แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอาการอื่นใดก็ตาม ตามหลักฐานที่รวบรวมโดยนักพยาธิวิทยาชั้นนำในสหราชอาณาจักร

ในเกาหลีใต้ จีน และอิตาลีประมาณหนึ่งในสามของผู้ป่วยที่พบว่าผลการทดสอบการติดเชี้อโคโรนาไวรัสเป็นบวก ได้รายงานว่ามีการสูญเสียกลิ่น – ที่รู้จักกันในชื่อ Anosmia หรือ hyposmia ในเกาหลีใต้ที่การทดสอบการติดเชี้อโคโรนาไวรัสอย่างแพร่หลาย พบว่า 30% ของผู้ป่วยที่ตรวจพบผลโคโรนาไวรัสเป็นบวกนั้นมีอาการอาการสูญเสียกลิ่นฉับพลัน (anosmia) ซึ่งเป็นอาการสำคัญโดยที่ผ.ป.ไม่มีอาการไข้ หรืออาการเจ็บป่วยใดฯ 

มีการตรวจพบว่าผู้ป่วยจำนวนมากทั่วโลกที่ผลการทดสอบโคโรนาไวรัสเป็นบวก จะมีเพียงเพียงอาการของการสูญเสียกลิ่นและรสฉับพลัน – โดยไม่ได้มีอาการของไข้สูงและไอ มีรายงานจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่นำเสนอด้วยการสูญเสียกลิ่นและรสโดยที่ไม่มีอาการอื่น ๆ

มีรายงานในประเทศอิหร่านว่ามีการเพิ่มขึ้นจำนวนของ ผ.ป.ที่มีผลการทดสอบโคโรนาไวรัสเป็นบวกและมีการสูญเสียกลิ่นและรสอย่างฉับพลันอย่างเดี่ยวโดยไม่มีอาการไข้ หรีอ อาการหายใจลำบาก นอกจากนี้มีรายงานการตรวจพบเช่นเดียวกันใน ผ.ป.ในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และ อิตาลีตอนเหนือ

ในกรณีเหล่านี้อาจหมายถึงว่า ผ.ป.กลุมนี้อาจจะไม่ได้รับการทดสอบและได้มีการแยกตัวอย่างเหมาะสม เนื่องจากไม่มีอาการเจ็บป่วยยกเว้นแต่มีอาการการสูญเสียกลิ่นและรสอย่างฉับพลันอย่างเดี่ยว ซึ่งจะทำให้ผ.ป. ในกลุ่มนี้จะช่วยในการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนาได้มากขึ้น

“ ผู้ป่วยเหล่านี้อาจเป็นพาหะซ่อนเร้นของเชื้อไวรัสโคโรนา ที่จะทำให้มีอาการแพร่กระจายของ เชื้อไวรัสโคโรนาได้อย่างรวดเร็ว”

คนหนุ่มสาวที่อาจไม่แสดงอาการเชื้อไวรัสโคโรนาทั่วไป

ผู้ป่วยอายุน้อยโดยเฉพาะอาจแสดงให้เห็นถึงการสูญเสียกลิ่นหรือรสอย่างฉับพลันอย่างเดี่ยว โดยไม่แสดงอาการของโรคโคโรนาไวรัสที่รู้จักกันทั่วไป เช่น ไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อ เจ็บคอ ไอ หรือ หายใจลำบาก แต่ผู้ป่วยอายุน้อยอาจจะมีแค่อาการการสูญเสียความรู้สึกของกลิ่นและรสซึ่งแสดงให้เห็นว่าไวรัสเหล่านี้อาศัยอยู่ในจมูกและอาจจะเป็นพาหะในการแพร่เชื้อได้

มีคำแนะนำในกรณืที่มีอาการของการสูญเสียรสชาติหรือกลิ่นอย่างฉับพลันให้แยกตัวเองเป็นเวลาเจ็ดวันเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคต่อไป

How does the coronavirus outbreak end?

Hypothesis

  1. What might happen: A huge portion of the world could become infected

About 40 to 70 percent of all adults around the world would catch the virus within a year. Lipsitch(Harvard epidemiologist) has since revised that estimate downward and with a greater range: He now estimates it’s “plausible” that 20 to 60 percent of adults will catch the disease. (If this comes to pass, while being bad, it’s not apocalyptic: 

Most cases of Covid-19. are mild. But it does mean millions could die.)

If the virus cannot be contained, Lipsitch says, the only way for this to get under control is for 50 percent of people to become immune to it.

  • The better scenario: Public health measures slow the spread and buy scientists time to work on treatments

The pessimistic view: Because of the lag in testing, the outbreak might be further along — and therefore harder to contain — than authorities currently realize. 

However, the development for the vaccine might be take about 1-2 years (it still could be a year or more before the safety and efficacy of these pharmaceuticals are proven).

  • The lucky scenario: Covid-19 naturally stops spreading as fast during the summer

For a variety of reasons, some viruses — but not all — become less transmissible as temperatures and humidity rise in the summer months. The viruses themselves may not live as long on surfaces in these conditions. Also, human behavior changes, and we spend less time in confined spaces.

That’s still a big unknown. “Just because some respiratory diseases, like flu, demonstrate seasonality doesn’t mean that Covid-19 will,” Maimuna Majumder, a Harvard epidemiologist, says.