Category Archives: Epilepsy

การตรวจการทำงานและความผิดปกติของสมองโดยการใช้ EEG-fMRI

การตรวจการทำงานและความผิดปกติของสมองโดยการใช้ EEG-fMRI

EEG-fMRI 2

EEG-fMRI 3

EEG เป็นการตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าสมองบ่งบอกถึงการทำงานของสมองสัมพ้นธ์กับเวลาณ.ขณะนั้น ส่วน MRI brain เป็นการตรวจดูลักษณะโครงสร้างของสมองและมีการพัฒนาการใช้ MRI มาตรวจวัดการทำงานของสมองโดยดูการเปลี่ยนแปลงของการปริมาณอ๊อกซิเจนในขณะนั้นแต่การตรวจ fMRI เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยคำสั่งที่เป็นเสี้ยวมิลลิวินาที (เช่น การตรวจหาศูนย์การทำงานของภาษา, หน่วยความจำความสนใจ, สมองที่ควบคุมการมองเห็นการได้ยิน เป็นต้น)  ดั่งนั้นการเพิ่มความละเอียดของเรียลไทม์ไปยังข้อมูล fMRI ทำให้เพิ่มความละเอียดของ fMRI ผูกติดอยู่กับเวลาที่แน่นอนของการตอบสนอง โดย EEG ให้ความละเอียดเวลาระดับมิลลิวินาทีทำให้ข้อมูลที่เป็นอิสระเพื่อร่วมตรวจสอบผลการให้ข้อมูลเวลาไปสู่ผลลัพธ์ที่ fMRI เพิ่มความสามารถในการตรวจสอบผู้ป่วยในแม่เหล็กสภาพพื้นฐานถือว่า “เป็นกลาง” ได้แม่นยำ

EEG-fMRI 4การตรวจ EEG-fMRI มีประโยชน์ในทางคลีนิค เช่น โรคลมชักเพื่อตรวจหาตำแหน่งของคลื่นที่ก่อให้เกิดอาการชักและใช้ในการประเมินการเตรียมการผ่าตัดรักษาโรคลมชัก (Presurgical evaluations for epilepsy surgery) การตรวจการทำงานของสมอง เช่น การตรวจการทำงานของสมองที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การได้ยิน การมองเห็น การความผิดปกติของการเรียนรู้และหน่วยความจำและช่วยระบุการทำงานของสมองที่ผิดปกติ การตรวจการเรียนรู้และความผิดปกติของพัฒนาการ การประเมินผลการรักษาในเด็กที่มีการพัฒนาการสมองที่ผิดปกติ

 

EEG monitoring unit- EMU

Introduction

EEG-video monitoring refers to continuous EEG recorded for a more or less prolonged period with simultaneous video recording of the clinical manifestations. Having a correlation of the recorded behaviour (video) and the EEG activity, the diagnosis of seizures or nonepileptic attacks can be made definitely in nearly all cases. EEG-video is the criterion standard for the diagnosis. Also,prolonged EEG-video monitoring is commonly used fro pre surgical evaluations to identify the epileptogenic focus.

Indication for the EEG monitoring

1. To confirm the diagnosis. This can help to confirm the diagnosis of epilepsy and epileptic syndrome.

2. To differentiate epileptic seizures from nonepileptic seizure mimics such as psychogenic nonepileptic attacks (PNEA), and seizure-mimiced symptom like syncope and parasomnias. It is useful particularly patients who have nocturnal seizure.

3. Presurgical evaluations to identify the epileptogenic focus

What need to prepare for admission to an EMU

1. Meet with  epilepsy doctor and nurse before admission to learn what is planned and how you can prepare. Normally, it take 1-2 days monitoring for the diagnosis, but for pre surgical evaluations might be take around 5-7 days.

2. Tell your epilepsy team if you have had changes in mood, sleep or behaviour (the way you act) when a seizure medicine has been changed or after seizures.

3. Ask what medicine changes are planned. Ask if whether to lower medicines ?, if yes, how. What medicine will be changed? Also,  “rescue” medicine or “prn” medicine  can be used.

4. Learn what safety precautions, what you can do in the hospital and what you can’t do. You likely will not be able to walk around on your own when you are at risk for falls or more seizures.

5. Bring activities to keep you busy. It can be boring in the hospital!. Being in the hospital, having more seizures and changing medicines can be very hard physically and emotionally.

6. Have a family member or friend with you at the EEG monitoring is recommended.

 

PRINCIPLES OF AUTONOMOUS NEURODYNAMICS 2014 Paris, France July 7-9, 2014

PRINCIPLES OF AUTONOMOUS NEURODYNAMICS 2014 Paris, France (download)
July 7-9, 2014

SAND XI
11th Annual Meeting of the Society for Autonomous Neurodynamics (SAND)

Location:

Institut Pasteur
28 Rue Du Docteur Roux, 75015 Paris, France

Supporting Institutes and Programs:

Human Genetics & Cognitive Functions Lab, Pasteur Institute The Green Neuroscience Laboratory, Neurolinx Research Institute The University of Toronto Epilepsy Research Program (UTERP) Hack Your PhD
Stichting Epilepsie Instellingen Nederland (SEIN)
Institute of Experimental Physics, Warsaw University Greenspiration Foundation, Canada

www.utoronto.ca/sand/PAND2014/

SAND XI – PRINCIPLES OF AUTONOMOUS NEURODYNAMICS 2014 Paris, France – July 7-9, 2014

DAY 1 – Monday, July 7

Registration
Opening & Orientation

Welcome & Opening Remarks (G. Dumas, C. Gruson-Daniel, A. Lam) Introduction & Welcome to Institut Pasteur (Thomas Bourgeron)
An Orientation to SAND (A. Lam)
A Brief Primer on Autonomous Neurodynamics (E. Ohayon)

Session 1 – Epilepsy I: Transitions in Space, Time and Modulation Chair:

9:00 – 10:00

10:00 – 10:10 10:10 – 10:25 10:25 – 10:30 10:30 – 10:50

P. Carlen
11:10 – 11:30 p.x

Piotr Suffczynski

Suzie Dufour

Marc Koppert

Berj Bardakjian

Modeling of Seizure Transitions with Ion Concentration Dynamics

Revisiting Extracellular and Intracellular K+ Accumulation and Buffering during Epilepsy: A Spatiotemporal Study

Seizure Control in Autonomous Computational Models of Epilepsy Estimation of Regions of Interest in the Epileptic Brain from Intracranial Group Discussion over Lunch

10:50 – 11:10 p.x

11:30 – 11:50 11:50 – 12:10 12:10 – 13:30

p.x

Session 2 – Dynamics I: Harmonics, Looping & Grooving

EEG Chair: S. Kalitzin

Maciej Labecki

David Colliaux

Julien Laroche

Nature of Fundamental and Harmonic Components of Steady State Visual Evoked Potentials
Une Boucle Sensorimotrice Minimale:
Modeles Subjectifs et Voies Biochimiques /

Minimal Sensorimotor loop: Subjective Models and Biochemical Pathways The Autonomous Groove of Relational Dynamics
Group Discussion
Coffee break

13:30 – 13:50 p.x p.x

13:50 – 14:10

14:10 – 14:30 14:30 – 14:40 14:40 – 14:50

p.x p.x

Session 3 – Epilepsy II: Molecules & Metabolism (Fatty Acids ̧ Hormones, Metals)

Chair: A. Lam

Paul Hwang

Melanie Jeffrey

Laura Frutos

A Double Blind Placebo Controlled Trial of
Docosahexaenoic Acid (DHA) in Epilepsy – A Preliminary Report Electrophysiological Studies of Progesterone and its Metabolites: Open to Whom?
A Working Chapter in the Hidden Story of Metals and Epilepsy

14:50 – 15:10 p.x 15:10 – 15:20 p.x

15:20 – 15:50 p.x 15:50 – 16:00

16:00 – 16:20 p.x 16:20 – 16:40 p.x

16:40 – 16:50 16:50 – 17:00 Evening

i

Group Discussion

Session 4 – Imaging Across Scales, Conditions and Stages of Treatment

Chair: J. Hwang

Ann Lam

Yotin Chinvarun

How do you Translate Particle Accelerator Images to
Post-Surgical Treatment?
Ictal PET in Status Epilepticus:
A Valuable Presurgical Tool in Selected Patients with Status Epilepticus (SE) Group Discussion

Close of Day 1 Announcements & planning for retreat

SAND Social & Dinner Principles of Autonomous Neurodynamics 2014

SAND XI – PRINCIPLES OF AUTONOMOUS NEURODYNAMICS 2014 Paris, France – July 7-9, 2014

DAY 2 – Tuesday, July 8

Introduction to Day 2, Updates & Announcements 09:30 – 09:35 Session 5 – Epilepsy III: Start, Stop and See Chair: P. Suffczynski

Robert Helling

Prisca Bauer

Stiliyan Kalitzin

Gap-Junctions as Common Cause of High-Frequency Oscillations and Epileptic Seizures: A Computational Cascade of Neural Mass and Compartmental Modelling
Post-Ictal Generalised EEG Suppression (PGES) – the “Neuronal brake”?

In and Out United: Whole Body Motion Detection and its Electrographic Correlates in Cases of Major Motor Seizures

09:35 – 09:55 p.x

09:55 – 10:15 p.x

10:15 – 10:35 p.x

10:35 – 10:45

10:45 – 10:55

10:55 – 11:15 p.x

11:15 – 11:35 p.x

11:35 – 11:55 p.x

11:55 – 12:05

12:05 – 13:30

13:30 – 13:40

13:40 – 14:00 p.x

14:00 – 14:20 p.x

14:20 – 14:40 p.x

14:40 – 14:50

14:50 – 15:10 p.x

15:10 – 15:30 p.x

15:30 – 15:50 p.x

15:50 – 16:00

Group Discussion Coffee break

The Open Future I: Technology & Medicine in Autonomy, Cognition & Health

Session 6 –

Jie Mei

Julie Hwang

Paul Hwang

Session 7 –

Chair: M. Labecki

Transitioning to a New Era: How will Future Technologies Revolutionize Cognition, Autonomy and Social Thinking
Naturopathic Medicine and Neurology:
a Glance into the Philosophy and Science of Treatments of People and their Neurologic Conditions from a Naturopathic Perspective

A Common Platform for Neurophysiological Database: EEG, ERP, MEG and PSG
Group discussion
Lunch & leisurely deep discussions

Neural Networks and Artificial Life: Structures, Embodiment & Surprise Returns

Chair: S. Dufour

Stiliyan Kalitzin

Gueorgui Petkov

Remi Sussan

Elan Ohayon

Post-Lunch Reawakening: The SANDS of Time

A Computational Modelling Approach to the Critical Role for Network Structure and Spread of Information in Seizure Onset Grandeur et Misère de la “Vie Artificielle” /
The Grandeur and Misery of “Artificial Life”

Wait, did that just move? Strange embodied behavior in naive spatial networks

Coffee break

Session 8 – The Open Future II – Nouveaux Ports Vers L’autonomie: Chair: E. Ohayon Neural, Social, Cultural

Guillaume Dumas

Martin Fortier

Bronwyn Sekulovich

Probing the Complementary Nature of Autonomy and Coupling Across Neural, Behavioral, and Social Scales
Importing Bayesianism into Anthropology?
An Ethnobiological Look at Probabilistic Models of Categorization Triple E: Environmentally Engaged Education

Group discussion

Principles of Autonomous Neurodynamics 2014

ii

SAND XI – PRINCIPLES OF AUTONOMOUS NEURODYNAMICS 2014 Paris, France – July 7-9, 2014

DAY 2 – Tuesday, July 8 (Continued)

Session 9 – Reports from the Frontiers of Open Science: Principles & Practice

Chair: L. Frutos

Célya Gruson-Daniel

Ann Lam

Tales from the Open Science Tour
Challenges, New Approaches and Opportunities in Green and Open Neuroscience
Group discussion

Close of Day 2 Announcements &
Coordinate for Paris Open Laboratory Space Tour

Paris Open Community Laboratory Space Tour & Potluck Apéro
@ La Paillasse
226 rue Saint Denis, 75002 Paris http://lapaillasse.org/

With our Guide: Célya Gruson-Daniel Evening (18:30 – 21:00)

16:00 – 16:20 p.x

16:20 – 16:40 p.x

16:40 – 16:50 16:50 – 17:00

Principles of Autonomous Neurodynamics 2014

iii

SAND XI – PRINCIPLES OF AUTONOMOUS NEURODYNAMICS 2013 Paris, France- July 7-9, 2013

DAY 3 – Wednesday, July 9

Introduction to Day 3, Updates & Announcements

Session 10 – Dynamics II: Brain Oscillations

Peter Carlen Potassium and Seizures: an Oscillatory Relationship

Uziel Awret Brain Oscillations and Sparse Predictive Coding

Coffee break

ROUNDTABLE DISCUSSIONS:

09:30 – 09:35 Chair: Y. Chinvarun

09:35 – 09:55 p.x

09:55 – 10:15 p.x

10:15 – 10:25

Chairs: Lam & Dumas
10:25 – 11:25 p.x

11:25 – 11:40 11:40 – 11:45 p.x 11:45 – 12:00

Round Table

What are the Relations of Open Science & Autonomy: Necessary Bedfellows or Risky Business?

SAND Next Stops & Steps
Closing of Day 3 Remarks and Announcements Retreat coordination

SAND SCIENTIFIC RETREAT
July 9 -12
CÉVENNES AND STEVENSON TRAIL Post-Presentation Events Begin the Afternoon of July 9th, 2014 Depart from Gare de Lyon with TGV 2pm

Principles of Autonomous Neurodynamics 2014

iv

ASEPA Pre-Congress Teaching Courses

 

Pre-Congress Teaching Courses

AOEC 2014

 

Course 1: STRUCTURAL AND METABOLIC CAUSES OF EPILEPSIES

Chairs

: Josephine GUTIERREZ (Philippines) and TBA
Post-traumatic epilepsy – Chong-Tin TAN (Malaysia)
Post-stroke epilepsy – Ta-Cheng CHEN (Taiwan)
Post-encephalitic epilepsy – Usha Kant MISRA (India)
Brain tumour – Josephine GUTIERREZ (Philippines)
Mitochondrial disease – Young-Mock LEE (Korea)
Neurocutaneous syndromes – Ingrid SCHEFFER (Australia)
Malformations of cortical development – Athanasios COVANIS (Greece)
CNS vascular malformation – Howan LEUNG (Hong Kong)

Course 2: ADVANCES IN IMAGING TECHNIQUES IN EPILEPSY EVALUATION 
Chairs: Graeme JACKSON (Australia) and Tchoyoson Choie Cheio LIM (Singapore)
Structural MRI: visual inspection versus automated assessment – Graeme JACKSON (Australia)
DWI and MRS – Tchoyoson Choie Cheio LIM (Singapore)
DTI tractography – Elysa WIDJAJA (Indonesia)
fMRI mapping of eloquent cortex – Winston Eng-Hoe LIM (Singapore)
SPECT and SISCOM – Terry O’BRIEN (Australia)
PET – Yotin CHINVARUN (Thailand)
MEG – Hiroshi OTSUBO (Japan)
Multimodal imaging for epilepsy surgery epileptogenic networks – Sarat CHANDRA (India)

Pramongkutklao Comprehensive Epilepsy Program

ศูนย์โรคลมชัก (Comprehensive Epilepsy Program) 

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

(See HISTORY OF PMK CEP PROGRAM)

พ.อ.(พิเศษ)ดร.น.พ.โยธิน  ชินวลัญช์

 

บทนำ (Introduction)

PMK

โรคลมชักเป็นโรคที่พบบ่อยในทุกช่วงอายุ พบว่าอุบัติการณ์โรคลมชักในประเทศไทยมีประมาณ 1-1.5% หรือคิดเป็นจำนวนประชากรประมาณ 700,000-1,000,000 คนในผู้ป่วยคนไทยที่ป่วยเป็นโรคลมชัก มีผู้ป่วยโรคลมชักประมาณ 30% หรือคิดเป็นตัวเลขประมาณ 30,000-40,000 คน เป็นอย่างต่ำที่เป็นผู้ป่วยที่ดื้อยา ในเกณฑ์การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคลมชักที่ดื้อยา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยการใช้ยากันชักอย่างเหมาะสมแล้วอย่างน้อย 2 ตัว แล้วยังไม่สามารถคุมอาการชักได้ โดยที่อาจจะยังมีอาการชักอย่างต่อเนื่อง. ในผู้ป่วยเหล่านี้เป็นผู้ป่วยที่สมควรจะได้รับการประเมินเพื่อหาพยาธิสภาพในสมองที่ผิดปกติ เพื่อตรวจดูว่าผู้ป่วยจะสามารถทำการรักษาโดยการผ่าตัดได้หรือไม่   แต่อย่างไรก็ตามในการตรวจวินิจฉัยเหล่านี้เป็นขั้นตอนที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อน  และในการตรวจเหล่านี้จะต้องมีความละเอียด รอบคอบที่จะตรวจหาตำแหน่งพยาธิสภาพ ที่ก่อให้เกิดโรคลมชักได้อย่างถูกต้องแม่นยำ   มิฉะนั้นแล้วการรักษาโดยการผ่าตัดโดยที่ไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยที่แม่นยำเพียงพออาจจะทำให้การผ่าตัดไม่ได้ผล หรือก่อให้เกิดผลแทรกซ้อนได้  ในการตรวจสิ่งเหล่านี้จะต้องได้รับการประเมินและการตรวจวินิจัฉยโดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคลมชักโดยตรง

 

โครงการรักษาผ.ป.โรคลมชักแบบครบวงจร ร.พ.พะะมงกุฎเกล้า

image 1

โครงการรักษา ผ.ป.โรคลมชักแบบครบวงจร ร.พ.พะะมงกุฎเกล้าได้ดำเนินการรักษาผ.ป.โรคลมชักมาตั้งแต่ปี 2000 มาอย่างต่อเนื่อง โดยให้การรักษาผ.ป.โรคลมชักด้วยวิธีการักษาทันสมัยและการใช้เทคโนโลยี่ใหม่ฯในการรักษา ผ.ป.ที่มีอาการชักครั้งแรกหรือผ.ป.โรคลมชักที่ดื้อต่อยา โดยมีการให้การรักษาด้วยยา การผ่าตัดรักษาโรคลมชักแบบครบวงจร การรักษาด้วยวิธีการกระตุ้นไฟฟ้าสมอง (vagal nerve stimulation) หรือ การใช้อาหาร Ketogenic diet เป็นต้น เป็นศูนย์ส่งต่อรักษาผ.ป.โรคลมชักที่ดื้อต่อยาจากร.พ.ทั่วประเทศไทยเพื่อประเมินกาารักษาด้วยการผ่าตัดรักษา บัจจุบันมีการผ่าตัดรักษาโรคลมชักหลายวิธีที่ศูนย์โรคลมชัก ร.พ.พะะมงกุฎเกล้า มีการผ่าตัดแบบธรรมดาและการผ่าตัดแบบชับช้อน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาวิจัยในการรักษาโรคลมชักด้วยวิธีใหม่ฯ มีการทำวิจัยการรักษาโรคลมชักด้วยยากันชักใหม่ฯ

การตรวจวินิจฉ้ยโรคลมชัก

image 2

การตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคลมชัก ร.พ.พะะมงกุฎเกล้า
โครงการรักษา ผ.ป.โรคลมชักแบบครบวงจร ร.พ.พะะมงกุฎเกล้า มีการบริการ การตรวจหาจุดกำเนิดไฟฟ้าที่ทำให้เกิดการชัก (Epileptogenic lesion) มีหลายวิธีเช่น

การตรวจคลื่นสมอง (EEG)
การตรวจคลื่นสมองประกอบภาพวิดีทัศน์ (video EEG monitoring)
การถ่ายภาพแม่เหล็กสมอง (MRI)

เป็นการดูภาพอย่างละเอียดทันสมัยที่สุดในปัจจุบันเพื่อหาสาเหตุของการชัก แม้จะมีขนาดเล็กมาก เช่น แผลเป็น เนื้องอกขนาดเล็ก หรือเนื้อสมองที่พิการตั้งแต่กำเนิด อย่างไรก็ตาม การเอกซเรย์สมองจะต้องมีการนำเทคนิคพิเศษมา เพื่อทำให้เครื่องมือที่มีอยู่เดิมตรวจพบความผิดปกติซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยการทำ MRI ธรรมดา และการใช้เครื่องตรวจ MRI เทคนิคพิเศษจะให้รายละเอียดของภาพสมองได้คมชัดกว่า
การตรวจภาพกัมมันตรังสี

แพทย์จะทำการฉีดสารกัมมันตรังสีในขณะที่ผู้ป่วยเริ่มชักโดยสารกัมมันตรังสีจะไปจับตรงตำแหน่งของสมองที่ก่อให้เกิดอาการชัก ทำให้แพทย์สามารถหาตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของการชักซึ่งจะมีประโยชน์มากในการเตรียมการผ่าตัดรักษา การใชัสารกัมมันตรังสีในการตรวจชนิดนี้มีความปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์

 

การตรวจ Interictal  SPECT

เป้นการตรวจหาจุดกำเนิดของคลื่นไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดอาการชักโดยดูการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของปริมาณของเลือดที่มาเลี้ยงสมองส่วนนั้น  โดยเป้นการตรวจในขณะที่ผู้ป่วยไม่มีอาการชักอย่างน้อย 24 ชม. อย่างไรก็ตามผ.ป.ที่ได้รับการตรวจ Interictal SPECT จะต้องทำการตรวจ Ictal SPECT ด้วยเปรียบเทียบในภาวะที่ไม่มีอาการชักและในขณะมีอาการชักเพื่อตรวจหาจุดกำเหนิดของคลื่นชัก

 

การตรวจ Ictal SPECT

image 3

การตรวจหารจุดกำเนิดของคลื่นไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดอาการชัก ขณะที่ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง 24 ชม.พร้อมวิดีทัศน์ โดยจะฉีดสารกัมมันตรังสีเข้าในร่างกายผู้ป่วยทันทีที่มีอาการชัก ซึ่งจุดตำแหน่งที่ก่อให้เกิดอาการชักจะเริ่มมีปริมาณเลือดมาเลี้ยงมากกว่าปกติ สารจะเข้าไปจับตรงตำแหน่งของสมองที่ผิดปกติส่วนนี้ ที่เป็นจุดกำเนิดของอาการชัก การตรวจจะได้ผลแม่นยำเมื่อได้มีการฉีดสารกัมมันตรังสีให้เร็วที่สุดในระหว่างมีอาการชัก โดยทั่วไปควรจะได้รับรับการฉีดในระยะเวลา 30 วินาทีถึง 2 นาทีทันทีที่มีเริ่มมีอาการชัก เพื่อใช้เป็นข้อมูลกำหนดตำแหน่งที่ก่อให้เกิดอาการชักในการเตรียมผู้ป่วยเพื่อการผ่าตัดรักษาโรคลมชัก

 

การตรวจ Interictal  PET

การที่ผ.ป.มีอาการชักจะมีเซลล์สมองที่ผิดปกติเชลล์เหล่านี้จะมีการทำงานที่ผิดปกติทำให้มีการดูดซึมสารผิดปกติ ดั่งนั้นการตรรวจ Interictal PET เป็นตรวจการทำงานของเซลล์สมองที่ผิดปกติที่ก่อให้เกิดอาการชัก การตรวจ Interictal PET ทำให้สามารถตรวจหาจุดกำเหนิดที่เป็นสาเหตุของอาการชักได้ เป็นการตรวจโดยใช้สารกัมมันตรังสี ฉีดเข้าร่างกายผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วยไม่มีอาการชัก  จะมีการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมองก่อนที่จะทำการตรวจ PET  scan จะทำให้ทราบตำแหน่งของจุดกำเนิดชักได้

 

การตรวจการทำงานของสมอง (Functional mapping)

การตรวจสมองด้วย functional mapping ทำให้ทราบว่าสมองส่วนไหนที่ควบคุมร่างกายหรือส่วนไหนที่ไม่มีความสำคัญต่อร่างกาย หากพบแผลเป็นในตำแหน่งที่ไม่อยู่ในส่วนที่สำคัญของร่างกายแพทย์สามารถผ่าตัดเอาส่วนนั้นออกได้เพื่อให้ผู้ป่วยหายโรคลมชักได้

การตรวจเรื่องความจำและภาษา (Neuropsychological และ Wada test)
โดยการทดสอบระดับเชาวน์ปัญญาการตรวจสภาพจิตอารมณ์และหน้าที่สมองด้วยเครื่องมือทางจิตวิทยา การตรวจตำแหน่งสมองที่ควบคุมเรื่องความจำและภาษา เพื่อป้องกันการสูญเสียหน้าที่ของสมองจาการผ่าตัดผิดตำแหน่ง
Wada test เป็นการทดสอบเรื่องของความจำและการพูดโดย  เพื่อศึกษาว่าสมองที่ควบคุมความจำและการพูดอยู่ในตำแหน่งเดียวกันหรือไม่ ตลอดจนสามารถรู้ได้ว่าแผลเป็นในสมองกับตำแหน่งที่ควบคุมร่างกายเป็นเรื่องของศูนย์ภาษาหรือศูนย์ความจำ เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาทำการผ่าตัดของแพทย์

 

การผ่าตัดรักษาโรคลมชัก

การรักษาผู้ป่วยโรคลมชัก

การใช้ยายังเป็นการรักษาหลักที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคลมชักในเด็กและผู้ใหญ่ (Antiepileptic drug)
การรักษาโดยการใช้ยาเพื่อช่วยปรับกระแสไฟฟ้าที่ผิดปรกติในสมองให้กลับมาเป็นปรกติ แพทย์จะเป็นผู้เลือกชนิดและขนาดยาที่เหมาะสมกับอาการชักของผู้ป่วยแต่ละคน ซึ่งจะใช้เวลาในการทานยาประมาณ 2-5 ปี  แพทย์จะเป็นผู้พิจารณาหยุดยาได้ โดยที่ผู้ป่วย 60-70 % สามารถหายขาดจากโรคลมชักด้วยยา

 

การผ่าตัด (Epileptic surgery)
ในผู้ป่วยที่ดื้อยาหรือมีพยาธิสภาพในสมองที่ชัดเจนแพทย์จะพิจารณารักษาด้วยการผ่าตัดสมอง โดยจะวิเคราะห์ผู้ป่วยอย่างละเอียดจากทีมสหสาขา และกระบวนการตรวจที่ทันสมัยพร้อมเทคนิคใหม่ ๆ ทำให้โอกาสที่ ผู้ป่วยจะหายจากชักสูงมากโดยที่ไม่มีผลแทรกซ้อนจากการผ่าตัด ในรายที่การรักษาทางยาไม่ได้ผลหรือผ่าตัดรักษาไม่ได้ก็อาจจะใช้วิธีการกระตุ้นสมองด้วยไฟฟ้า (Brain stimulation)

image 4

หลักสำคัญของการผ่าตัดของโรคลมชัก

การคัดเลือกผู้ป่วยที่เหมาะสมเพื่อค้นหาบริเวณของสมองที่เป็นต้นกำเนิดของโรคลมชัก (Epileptogenic Zone)

Modern Surgical Technique ทำให้การผ่าตัดประสบความสำเร็จ

 

จุดมุ่งหมายในการผ่าตัดโรคลมชัก
เพื่อให้คนไข้หายขาดจากโรคลมชักโดยที่มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อให้คนไข้สามารถกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้เหมือนคนปกติ และคนไข้บางรายที่ประเมินแล้วว่าไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การผ่าตัดรักษาจะกระทำเพื่อบรรเทาอาการทำให้ความรุนแรงและความถี่ของการเกิดโรคลมชักลดน้อยลง

การผ่าตัดสมองรักษาโรคลมชักเป็นวิธีการรักษามาตรฐานที่แพร่หลายในต่างประเทศ ก่อนผ่าตัด แพทย์จะทำการคัดเลือกผู้ป่วยอย่างพิถีพิถันด้วยการตรวจเพื่อวินิจัยดังรายการที่กล่าวข้างต้นอย่างละเอียดเป็นขั้นตอน จนแน่ใจว่า หลังผ่าตัดผู้ป่วยรายนั้นๆ จะมีโอกาสหายขาดจากอาการชักสูงและจะไม่ก่อให้เกิดความพิการภายหลัง

การผ่าตัดสมองเพื่อรักษาโรคลมชักสามารถจำแนกได้ 2 วิธีคือ

การผ่าตัดบริเวณของสมองที่เป็นต้นกำเนิดของโรคลมชัก ที่เรียกว่า Epileptogenic Zone หรือ ตัดบริเวณของสมองเพื่อยับยั้งการแพร่กระจายของคลื่นสมองที่ผิดปกติ

 

ผ่าตัดฝังเครื่องไฟฟ้ากระตุ้นระบบประสาท เช่น กระตุ้นเส้นประสาท ที่เรียกว่า Vagal Nerve Stimulation หรือกระตุ้นบางส่วนของเนื้อสมอง ที่เรียกว่า Thalamic Stimulation และ Cerebellar Stimulation เพื่อให้เกิดคลื่นไฟฟ้าใหม่ลบล้างคลื่นสมองที่มีอยู่เดิมทำให้อาการชักลดน้อยลง

 

เทคนิคพิเศษ

image 5

การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผ่าตัด

Intracranial monitoring เพื่อค้นหาและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมองจากเนื้อสมองโดยตรง ในกรณีที่การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมองวิธีธรรดาไม่สามารถบอกขอบเขตของสมองที่เป็นต้นกำเนิดคลื่นไฟฟ้าที่ผิดปกติได้ ตัวอย่างเช่น subdural strip electrodes, coritcal plate/ grids และ depth electrodes

 

Cortical Stimulator เป็น เครื่องมืออิเลกทรอนิกส์ทางไฟฟ้าใช้กระตุ้นผิวสมองในระหว่างการผ่าตัดเพื่อหาขอบเขตของสมองส่วนที่ปกติ และหลีกเหลี่ยงอันตรายหรือการบาดเจ็บต่อเนื้อสมองที่ปกติ

Intraoperative neuronavigator (Frameless stereotaxy) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการผ่าตัดโดยการนำเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ในวงการแพทย์ เพื่อใช้บอกตำแหน่งของสมองโดยจะแสดงภาพของสมองในวิวต่างๆในรูป CT, MRI หรือ SPECT ในขณะผ่าตัด

 

 

การใช้ไฟฟ้ากระตุ้นสมอง (Deep brain stimulation, Vagal nerve stimulation)
Vagal nerve stimulation เป็นวิธีการรักษาที่นิยมใช้ในต่างประเทศนิยมทำในผู้ป่วยโรคลมชักเด็กที่ดื้อต่อยาและไม่สามารถจะรักษาโดยการผ่าตัดได้ วิธีการโดยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าเข้าไปในร่างกายและกระตุ้นผ่านเส้นประสาท vagus nerve บริเวณคอ

 

การควบคุมอาหารเพื่อรักษาโรคลมชักในเด็ก (ketogenic diet)
เป็นการรักษาทางโภชนบำบัด เพือ่ให้ผู้ป่วยมีระดับ ketone ในร่างกายสูง ลักษณะอาหารจะมีไขมันค่อนข้างสูงและ โปรตีนต่ำ วิธีการนี้จึงเหมาะสมกับเด็ก เนื่องจาก พ่อแม่สามารถควบคุมเรื่องอาหารและตรวจเช็คปัสสาวะได้ตลอดเวลา โดยจะทำให้มีสาร การใช้ ketone จะได้ผลในผู้ป่วยเด็กที่มีความผิดปกติทางสมองซึ่งมีอาการชักค่อนข้างรุนแรง จะทำให้อาการชักดีขึ้นประมาณ 60 % -70 % และมีคนไข้ที่ไม่มีอาการชักเลยในระหว่างที่มีการให้อาหารชนิดนี้ ประมาณ 30 % สำหรับโรคลมชักในผู้ใหญ่ จะไม่นิยมวิธี ketogenic diet เนื่องจาก อาหารประเภทนี้มีไขมันค่อนข้างสูง แต่อาจจะเลือกใช้ในผ.ป.บางรายที่ดื้อต่อยาหรือผ่าตัดไปแล้วแต่ยังไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ ซึ่งทางโครงการรักษาผ.ป.โรคลมชักครบวงจรได้มีการักษาผ.ป.โรคลมชักด้วยการใช้อาหาร ketogenic diet

 

คลีนิคโรคลมชัก โครงการรักษาผ.ป.โรคลมชักครบวงจร

ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ร.พ.พะะมงกุฎเกล้า ถ.ราชวิถี เขตพญาไท  กทม. 10400

จันทร์- พฤหัส 9.00-12.00

 

คลีนิคโรคลมชักเฉพาะผ.ป.ที่เข้าร่วมยาวิจัยกันชักใหม่

ศุกร์ 9.00-12.00

 

ห้องตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG lab)

จันทร์- ศุกร์ 9.00-16.00

 

ห้องตรวจคลื่นไฟฟ้าสมองแบบ 24 ช.ม. (EMU: EEG Monitoring unit)

เปิดบริการทุกวัน 24 ช.ม.

 

 

การฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางโรคลมชัก

โครงการรักษาโรคลมชักแบบครบวงจร ร.พ.พะะมงกุฎเกล้าได้ดำเนินการเปิดการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางโรคลมชักมา 8 ปีโดยการรับรองสถาบันการฝึกอบรมจากราชอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย เป็นการฝึกอบรมแบบต่อยอดจากหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางประสาทวิทยา (3 ปี) หลักสูตรการฝึกอบรมเฉพาะทางโรคลมชักจะใช้เวลาอีก 2 ปี

(See HISTORY OF PMK CEP PROGRAM)

การรักษาโรคลมชัก

การรักษาโรคลมชัก

How seizure effect to brain.mov

การรักษาโรคลมชัก

1. การรักษาโดยการใช้ยาเพื่อไปช่วยปรับกระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติในสมองให้กลับมาเป็นปกติซึ่งจะต้องใช้เวลาในการทานยาประมาณ 2-5 ปี ถึงแพทย์ จะพิจารณาหยุดยาได้โดยที่ประมาณ 60-70% หายขาดจากโรคลมชักเลย

ยากันชักในปัจจุบันมีมากกว่า 10 ชนิด แต่ละชนิดก็ใช้ได้ดีกับการชักต่างชนิดกันออกไปแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเลือกใช้ยาที่เหมาะสมตามชนิดของการชักของผู้ป่วย เนื่องจากการตอบสนองของยากันชักและขนาดที่ใช้จะแตกต่างในแต่ละคนดั้งนั้นผ.ป.จะต้องติดตามผลการรักษาอย่างใกล้ชิดปรับใช้ชนิดยาและปริมาณของยาที่เหมาะสม

2..การรักษาโดยการใช้การผ่าตัด บัจจุบันถือว่าเป็นการรักษามาตรฐานทั่วโลกในผ.ป.ที่มีแผลเป็นในสมองและดื้อต่อยาร่วมถึงผ.ป.ที่มีอาการชักอันก่อให้เกิดอันตรายหรือมีผลกระทบมากต่อการงานและสังคมอย่างไรก็ตามก่อนการผ่าตัดจะต้องมีการตรวจอย่างละเอียด

 

การวินิจฉัย

การวินิจฉัย

Coregistration1-150x150

 

 

 

 

 

แพทย์จะวินิจฉัยโรคลมชักโดยอาศัยข้อมูลของลักษณะชักที่ได้จากคนไข้และผู้พบเห็นผ.ป.ในขณะชัก

ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต, ปัจจุบัน, ประวัติครอบครัว

การตรวจร่างกาย

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การตรวจคลื่นสมอง (EEG)

บางครั้งอาจใช้การวินิจฉัยอื่นๆอาจมีความจำเป็น เช่น การตรวจเอ๊กซ์เรยคลื่นแม่เหล็กสมอง (MRI),

การตรวจคลื่นสมองพร้อมวีดีโอ 24 ชั่วโมง,

การตรวจสมองโดยใช้สารกัมมันตรังสี (SPECT) เพื่อตรวจหาพยาธิสภาพในสมอง

 

ข้อพึงปฏิบัติในการรักษาโรคลมชัก

ข้อพึงปฏิบัติในการรักษาโรคลมชัก

 

ข้อพึงปฏิบัติในการรักษาโรคลมชัก

1. ควรรับประทานยากันชักตามคำแนะนำของแพทย์ทุกวันอย่างสม่ำเสมอและตามเวลาที่แนะนำ

2. ควรสังเกตอาการข้างเคียงของยาตามคำแนะนำของแพทย์ หากพบควรรีบปรึกษาแพทย์ก่อนตัดสินใจหยุดยาเองเพราะบางกรณีหากหยุดยาเองอาจทำให้เกิดอาการชักอย่างรุนแรงเพราะขาดยาได้

3. จดบันทึกลักษณะอาการชักทุกครั้งที่มีตลอดจนวันและเวลาที่มีอาการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อแพทย์ในการปรับขนาดยา หรือช่วงเวลาที่จะให้ยาแก่ผู้ป่วย

4. ควรหลีกเลี่ยงภาวะต่างๆที่อาจจะเสี่ยงต่อกาชักซ้ำ เช่น การอดนอน, การออกกำลังกายหักโหม, ขาดยากันชัก, อดอาหารเป็นต้น

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

1. เมื่อพบผู่ป่วยที่กำลังชัก ตั้งสติให้ดี อย่าตกใจ

2. จับผู้ป่วยนอนตะแคงหันศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก และลิ้นตกไปอุดทางเดินหายใจ

3. คลายเสื้อผ้าให้หลวม

4. ห้ามใช้นิ้วหรือสิ่งของใดๆงัดปากผู้ป่วยขณะชัก เพราะอาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้ช่วยเหลือ

5. ผู้ป่วยหลังชักอาจมีอาการงงอยู่ ขณะยังไม่รู้สติ ห้ามยึดจับผู้ป่วยเพราะจะกระตุ้นผู้ป่วยให้ทำการต่อสู้รุนแรงได้

6. ในกรณีที่ผู้ป่วยหลับหลังชักควรปล่อยให้หลับต่อ ห้าม ป้อนอาหารหรือยาจนกว่าจะฟื้นเป็นปรกติเพราะอาจสำลักได้

7. ถ้าชักนานกว่าปรกติหรือชักซ้ำ ขณะที่ยังไม่ฟื้นเป็นปรกติควรนำส่งโรงพยาบาล

 

คลีนิคโรคลมชัก

คลีนิคโรคลมชัก โครงการรักษาผ..โรคลมชักครบวงจร

btn_rxforsafety

ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ถ.ราชวิถี เขตพญาไท  กทม. 10400

อังคาร 9.00-13.00

พุธ 9.00-13.00

 

คลีนิคโรคลมชักเฉพาะผ..ที่เข้าร่วมยาวิจัยกันชักใหม่

ศุกร์ 9.00-12.00

 

โรคลมชัก (Epilepsy)

โรคลมชัก (Epilepsy)

โรคลมชักเป็นปัญหาที่พบได้ในคนทุกเพศทุกวัย  โดยมีอุบัติการณ์เกิดประมาณ 1% ของประชากร ในประเทศไทยประมาณว่ามี ผ.ป.โรคลมชักประมาณ 6-7 แสนคน โรคลมชักไม่ใช่โรคติดต่อเป็นโรคที่มีสาเหตุจากหลายฯชนิดอาจจะถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ขึ้นกับชนิดของการชัก โรคลมชักพบได้ในช่วงทุกอายุ หากได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆและถูกต้องในผ.ป.ส่วนใหญ่จะสามารถหายขาดได้

อาการชักเกิดเนื่องจากความผิดปรกติของกระแสไฟฟ้าภายในสมองซึ่งมีการนำของกระแสไฟฟ้าที่ลัดวงจรก่อให้เกิดอาการชักตามมาโดยถ้ากระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติเกิดขึ้นรบกวนสมองเป็นบางส่วนจะทำให้เกิด “อาการชักเฉพาะที่โดยที่ยังรู้ตัวอยู่แต่ถ้ามีเหม่อลอยหมดสติทำอะไรไม่รู้ตัวเรียกว่า อาการชักแบบเหม่อ แต่ถ้ากระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติเกิดขึ้นรบกวนสมองทั้งสองข้างจะทำให้เกิดอาการชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัวหรือชักแบบแน่นิ่งที่พบบ่อยในเด็ก

อาการชักเฉพาะที่โดยกระแสไฟฟ้าที่ผิดปรกติอาจรบกวนสมองส่วนที่ควบคุมการทำงานแห่งใดแห่งหนึ่งในร่างกายทำให้เกิดอาการต่างฯใดยที่ยังรู้ตัว เช่น อาการชาหรือกระตุกของแขนขา หรือใบหน้าข้างใดข้างหนึ่งเป็นซ้ำฯใดยที่ไม่สามารถควบคุมได้ นอกจากนี้อาจมีอาการคลื่นไส้ ปวดท้อง กลัว ความรู้สึกแปลกฯ ความรู้สึกเหมือนฝัน หูแว่ว เห็นภาพหลอน หรือหัวใจเต้นผิดปรกติ

อาการชักแบบเหม่อลอย ผ.ป.มักจะมีอาการเตือนนำมาก่อนเหมือนดังที่ได้กล่าวมาแล้วตามด้วยอาการเหม่อลอย ผ.ป.มักจะทำปากขมุบขมิบหรือเคี้ยวปากหรือมือเกร็งหรือขยับมือไปมาอาจคลำตามเสื้อผ้าอย่างไม่รู้ตัวเคลื่อนไหวแขนขาอย่างไร้จุดหมายโดยไม่รับรู้สิ่งรอบข้างแล้วโดยที่จำเหตุการณ์ระหว่างนั้นไม่ได้อาการเหม่อลอยจะนานประมาณไม่กี่วินาทีจนถึงหลายฯนาทีหลังจาก ผ.ป.มักจะมีอาการสับสน ในผ.ป.บางรายอาจจะมีอาการพูดไม่ได้หรือยกแขนข้างใดข้างหนึ่งไม่ได้อีกหลายนาที กว่าจะตื่นเป็นปกติ

อาการชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัว เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าที่ผิดปรกติรบกวนการทำงานของสมองทั้งหมดจะเกิดอาการชักที่เรียกว่า “อาการชักทั่วทุกส่วน” หรือที่เรียกว่าโรคลมบ้าหมู ชนิดที่พบบ่อยคือ อาการชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัว ผู้ป่วยจะสูญเสียการรู้สึกตัวทันที และล้มลง กล้ามเนื้อจะแข็งเกร็งทั่วทั้งตัว ตาจะเลือกค้าง น้ำลายฟูมปากอาจจะกัดลิ้นตนเองหรือปัสสาวะราด ระยะเวลาชักจะนานประมาณ 2 – 3 นาที หลังชักมักจะเพลียและนอนหลับหลังจากหยุดชัก

อาการชักแบบแน่นิ่ง พบได้บ่อยในวัยเด็ก อาการจะเกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นมาก ผู้ป่วยจะจ้องไปข้างหน้าอย่างไร้จุดหมายเป็นระยะเวลาสั้นๆคล้ายกับเหม่อ ประมาณ 2 – 3 วินาทีแล้วกลับมาทำสิ่งที่ค้างอยู่ต่อไปโดยมักไม่มีการเคลื่อนไหวแขนขา